skip to main
|
skip to sidebar
ขอต้อนรับเข้าสู่บล็อกของน.ส.ศิราณี ฉิมอ่อง วิชา การผลิตวัสดุกราฟิก คะ
วันพุธที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2552
วันเสาร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2552
วันพุธที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2552
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
บทที่ 9 การนำเสนองาน
การนำเสนองาน
การวิเคราะห์งานออกแบบ
การออกแบบจัดหน้าในสิ่งพิมพ์
วิธีการออกแบบงานกราฟิก
จิตวิทยาในการออกแบบ
กระบวนการออกแบบทำต้นฉบับ
วัสดุและเครื่องมือสำหรับงานออกแบบ
ประเภทของการออกแบบกราฟิก
ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบกราฟิก
Lasik
บ้านของ เทคโน'บึง
การผลิตวัสดุกราฟิก ทิพวัลย์
สุขภาพและกิจกรรมนันทนาการ
จิตวิทยาสำหรับครู
การอ่านภาษาอังกฤษเบื้องต้น
การคิดวิเคราะห์
Full of Vitality
หลักการและทฤษฎีเทคโนโลยี
เทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
โครงการสอน
วิชา การผลิตวัสดุกราฟิก (Production of Graphic Materials)
รหัสวิชา 1033301 จำนวน 3 หน่วยกิต 4 ชั่วโมง
คำอธิบายรายชั่วโมง
ศึกษาความหมาย ขอบข่าย ความสำคัญ ทฤษฎีและหลักการออกแบบวัสดุกราฟิก วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องมือในการผลิตวัสดุกราฟิก การประดิษฐ์ตัวอักษร การสร้างภาพ หลักการผลิต การใช้และการรักษาวัสดุกราฟิก
ฝึกปฏิบัติการเขียน การประดิษฐ์ การสร้างภาพและตัวอักษร เพื่อนำไปใช้ในการเรียนการสอน
วัตถุประสงค์
เมื่อนักศึกษาเรียนวิชานี้แล้วจะมีพฤติกรรมและความสามารถดังนี้
1.บอกความหมาย ขอบข่าย และความสำคัญของวัสดุกราฟิกได้
2.อธิบายทฤษฎีและหลักการออกแบบวัสดุกราฟิกได้ถูกต้อง
3.อธิบายและสาธิตหลักการการออกแบบงานกราฟิกได้
4.บอกชื่อวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือการผลิตวัสดุกราฟิกได้
5.ประดิษฐ์ตัวอักษรด้วยพู่กันได้อย่างคล่องแคล่ว
6.เขียนภาพการ์ตูนด้วยปากกาได้โดยไม่ต้องร่างด้วยดินสอ
7.ออกแบบตรา เครื่องหมาย สัญลักษณ์ได้อย่างถูกต้องและสวยงาม
8.อธิบายวีการใช้และเก็บรักษาวัสดุกราฟิกได้อย่างถูกต้อง
เนื้อหา
เนื้อหาในวิชานี้แบ่งหัวข้อออกเป็นบทเรียนได้ดังนี้
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวัสดุกราฟิก
บทที่2 หลักจิตวิทยากับการออกแบบงานกราฟิก
บทที่3 หลักการออกแบบงานกราฟิก
บทที่4 องค์ประกอบศิลป์ในการออกแบบงานกราฟิก
บทที่5 ส่วนประกอบในการออกแบบวัสดุกราฟิก
บทที่6 การออกแบบวัสดุกราฟิกด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่7 เทคนิคการผลิตวัสดุกราฟิก
บทที่8 การประเมินผลวัสดุกราฟิก
สื่อการเรียนการสอน
กระบวนการเรียนการสอนใช้สื่อประกอบดังนี้
1.การบรรยาย
2.ตัวอย่างสื่อวัสดุกราฟิก
3.การสาธิต
4.คอมพิวเตอร์
5.การฝึกปฏิบัติ
การวัดและประเมินผล
การวัดและการประเมินผลโดยใช้เกณฑ์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติดังนี้
1.ภาคทฤษฎี 20%
1.1รายงาน 5%
1.2สอบกลางภาค 5%
1.3สอบปลายภาค 10%
2.ภาคปฏิบัติ 80%
2.1การประดิษฐ์ตัวอักษรด้วยพู่กัน 15%
2.2การเขียนการ์ตูนลายเส้น 10%
2.3การเขียนภาพการ์ตูนระบายสีไม้ 10%
2.4การออกแบบตรา เครื่องหมาย 10%
2.5การออกแบบโปสเตอร์ด้วยสีไม้ 10%
2.6การออกแบบปกสมุดที่เรียน 5%
2.7การออกแบบแผ่นพับด้วยคอมพิวเตอร์ 10%
2.8การนำเสนองานกราฟิกด้วยคอม 10%
การประเมินค่าระดับคะแนน
คะแนนที่นักศึกษาทำได้จะได้รับการประเมินค่าดังนี้
80-100 = A
75-79 = B+
70-74 = B
65-69 = C+
60-64 = C
55-59 = D+
50-54 = D
0-49 = E
ผู้ติดตาม
Code Calendar
by zalim-code.com
คลังบทความของบล็อก
▼
2009
(4)
▼
กันยายน
(2)
ไม่มีชื่อ
ไม่มีชื่อ
►
สิงหาคม
(2)
เกี่ยวกับฉัน
เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การศึกษา มัธยมศึกษาปีที่1 โรงเรียนบางแพปฐมพิทยา มัธยมศึกษาปีที่2-3 โรงเรียนอนุบาลโพธาราม มัธยมศึกษาปีที่4 โรงเรียนราชวิตบางแก้ว โรงเรียนมัธยมด่านสำโรง มัธยมศึกษาปีที่5-6 โรงเรียนหนองโพวิทยา
ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน